December 22, 2024

ค่ามาตรฐานความเข้มแสงสว่างตามกฎหมาย

โดย : บริษัท ธนโรจน์ ไลท์ติ้ง แอนด์ อีควิปเมนท์ จำกัด (THANAROJ LIGHTING & EQUIPMENT CO., LTD.)

ตามกฎกระทรวง การกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559

หมวด 2 แสงสว่าง ข้อ ๔ "นายจ้างต้องจัดให้สถานประกอบกิจการมีความเข้มของแสงสว่างไม่ต่ำกว่ามาตรฐาน ที่อธิบดีประกาศกําหนด"

ทั้งนี้ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561) ดังนี้

ตารางที่ ๑ มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง ณ บริเวณพื้นที่ทั่วไปและบริเวณการผลิตภายในสถานประกอบกิจการ

 

บริเวณพื้นที่และ/หรือลักษณะงาน

 

ลักษณะพื้นที่เฉพาะ

ตัวอย่างบริเวณพื้นที่ และ/หรือลักษณะงาน

ค่าเฉลี่ยความเข้ม  ของแสงสว่าง (ลักซ์)

จุดที่ความเข้มของ แสงสว่างต่ำาสุด (ลักซ์)

บริเวณพื้นที่ทั่วไปที่มีการสัญจรของบุคคลและ/หรือ ยานพาหนะในภาวะปกติ และบริเวณที่มีการสัญจรใน ภาวะฉุกเฉิน

ทางสัญจรในภาวะ ฉุกเฉิน

ทางออกฉุกเฉิน เส้นทางหนีไฟ บันไดทางฉุกเฉิน

๑๐

(กรณีเกดิเหตุฉุกเฉินไฟดบัโดยวดัตามเส้นทางของ ทางออกที่ระดับพื้น)

ภายนอกอาคาร

ลานจอดรถ ทางเดิน บันได

๕๐

๒๕

ประตูทางเข้าใหญ่ของสถานประกอบกิจการ

๕๐

ภายในอาคาร

ทางเดิน บันได ทางเข้าห้องโถง

๑๐๐

๕๐

 

ลิฟท์

๑๐๐

บริเวณพื้นที่ใช้ประโยชน์ทั่วไป

 

ห้องพักฟื้นสาหรับการปฐมพยาบาล ห้องพักผ่อน

๕๐

๒๕

ป้อมยาม

๑๐๐

– ห้องสุขา ห้องอาบน้า ห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า – ห้องลอบบี้หรือบริเวณต้อนรับ
– ห้องเก็บของ

๑๐๐

๕๐

โรงอาหาร ห้องปรุงอาหาร ห้องตรวจรักษา

๓๐๐

๑๕๐

บริเวณพื้นที่ใช้ประโยชน์ในสานักงาน

 

– ห้องสานักงาน ห้องฝึกอบรม ห้องบรรยาย ห้องสืบค้นหนังสือ/เอกสาร ห้องถ่ายเอกสาร ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องประชุม บริเวณโต๊ะประชาสัมพันธ์ หรือติดต่อลูกค้า พื้นที่ห้องออกแบบ เขียนแบบ

๓๐๐

๑๕๐

 

บริเวณพื้นที่และ/หรือลักษณะงาน

ลักษณะพื้นที่เฉพาะ

ตัวอย่างบริเวณพื้นที่ และ/หรือลักษณะงาน

ค่าเฉลี่ยความเข้ม ของแสงสว่าง (ลักซ์)

จุดที่ความเข้มของ แสงสว่างต่ำาสุด (ลักซ์)

บริเวณพื้นที่ใช้ประโยชน์ในกระบวนการผลิตหรือการ ปฏิบัติงาน

 

ห้องเก็บวัตถุดิบ บริเวณห้องอบหรือห้องทาให้แห้งของ โรงซักรีด

๑๐๐

๕๐

– จุด/ลานขนถ่ายสินค้า
– คลังสินค้า
– โกดังเก็บของไว้เพ่ือการเคลื่อนย้าย – อาคารหม้อน้า
– ห้องควบคุม
– ห้องสวิตซ์

๒๐๐

๑๐๐

   

-บริเวณเตรียมการผลติ การเตรียมวัตถุดิบ -บริเวณพื้นที่บรรจุภณั ฑ์ -บริเวณกระบวนการผลติ/บริเวณที่ทางานกับเครื่องจักร -บริเวณการก่อสร้างการขดุเจาะการขุดดิน

– งานทาสี

๓๐๐

๑๕๐

 

ตารางที่ ๒ มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง ณ บริเวณที่ลูกจ้างต้องทางาน โดยใช้สายตามองเฉพาะจุดหรือต้องใช้สายตาอยู่กับที่ในการทำงาน

 

การใช้สายตา

ลักษณะงาน

ตัวอย่างลักษณะงาน

ค่าความเข้มของแสง สว่าง (ลักซ์)

งานหยาบ

งานที่ชิ้นงานมีขนาดใหญ่สามารถมองเห็นได้อย่าง ชัดเจน มีความแตกต่างของสีชัดเจนมาก

– งานหยาบที่ทาที่โต๊ะหรือเครื่องจักร ชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่กว่า ๗๕๐ ไมโครเมตร (๐.๗๕ มิลลิเมตร)
– การตรวจงานหยาบด้วยสายตา การประกอบ การนับ การตรวจเช็คสิ่งของท่ีมี ขนาดใหญ่

– การรีดเส้นด้าย
– การอัดเบล การผสมเส้นใย หรือการสางเส้นใย – การซักรีด ซักแห้ง การอบ
– การปั๊มขึ้นรูปแก้ว เป่าแก้ว และขัดเงาแก้ว
– งานตี และเชื่อมเหล็ก

๒๐๐ – ๓๐๐

งานละเอียดเล็กน้อย

งานที่ชิ้นงานมีขนาดปานกกลาง สามารถมองเห็นได้ และมีความแตกต่างของสีชัดเจน

– งานรับจ่ายเสื้อผ้า
– การทางานไม้ที่ชิ้นงานมีขนาดปานกลาง
– งานบรรจุน้าลงขวดหรือกระป๋อง
– งานเจาะรู ทากาว หรือเย็บเล่มหนังสือ งานบันทึกและคัดลอกข้อมูล – งานเตรียมอาหาร ปรุงอาหาร และล้างจาน
– งานผสมและตกแต่งขนมปัง
– การทอผ้าดิบ

๓๐๐ – ๔๐๐

 

งานที่ชิ้นงานมีขนาดปานกลางหรือเล็ก สามารถ มองเห็นได้แต่ไม่ชัดเจน และมีความแตกต่างของสี ปานกลาง

– งานประจาในสานักงาน เช่น งานเขียน งานพิมพ์ งานบันทึกข้อมูล การอ่านและ ประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บแฟ้ม
– การปฏิบัติงานที่ชิ้นงานมีขนาดตั้งแต่ ๑๒๕ ไมโครเมตร (๐.๑๒๕ มิลลิเมตร)
– งานออกแบบและเขียนแบบ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์

– งานประกอบรถยนต์และตัวถัง
– งานตรวจสอบแผ่นเหล็ก
– การทางานไม้อย่างละเอียดบนโต๊ะหรือที่เครื่องจักร – การทอผ้าสีอ่อน ทอละเอียด

๔๐๐ – ๕๐๐

 

การใช้สายตา

ลักษณะงาน

ตัวอย่างลักษณะงาน

ค่าความเข้มของแสง สว่าง (ลักซ์)

   

– การคัดเกรดแป้ง
– การเตรียมอาหาร เช่น การทาความสะอาด การต้มฯ – การสืบด้าย การแต่ง การบรรจุในงานทอผ้า

 

งานละเอียดปานกลาง

งานที่ชิ้นงานมีขนาดปานกลางหรือเล็ก สามารถ มองเห็นได้แต่ไม่ชัดเจน และมีความแตกต่างของสีบ้าง และต้องใช้สายตาในการทางานค่อนข้างมาก

– งานระบายสี พ่นสี ตกแต่งสี หรือขัดตกแต่งละเอียด – งานพิสูจน์อักษร
– งานตรวจสอบขั้นสุดท้ายในโรงผลิตรถยนต์

๕๐๐ – ๖๐๐

– งานออกแบบและเขียนแบบ โดยไม่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ – งานตรวจสอบอาหาร เช่น การตรวจอาหารกระป๋อง
– การคัดเกรดน้าตาล

๖๐๐ – ๗๐๐

งานละเอียดสูง

งานที่ชิ้นงานมีขนาดเล็ก สามารถมองเห็นได้แต่ไม่ ชัดเจน และมีความแตกต่างของสีน้อย ต้องใช้สายตา ในการทางานมาก

– การปฏิบัติงานที่ชิ้นงานมีขนาดตั้งแต่ ๒๕ ไมโครเมตร (๐.๐๒๕ มิลลิเมตร)
– งานปรับเทียบมาตรฐานความถูกต้องและความแม่นยาของอุปกรณ์
– การระบายสี พ่นสี และตกแต่งชิ้นงานที่ต้องการความละเอียดมากหรือต้องการ ความแม่นยาสูง
– งานย้อมสี

๗๐๐ – ๘๐๐

งานที่ชิ้นงานมีขนาดเล็ก สามารถมองเห็นได้แต่ไม่ ชัดเจน และมีความแตกต่างของสีน้อย ต้องใช้สายตา ในการทางานมากและใช้เวลาในการทางาน

– การตรวจสอบ การตัดเย็บเสื้อผ้าด้วยมือ
– การตรวจสอบและตกแต่งสิ่งทอ สิ่งถัก หรือเสื้อผ้าที่มีสีอ่อนขั้นสุดท้ายด้วยมือ – การคัดแยกและเทียบสีหนังที่มีสีเข้ม
– การเทียบสีในงานย้อมผ้า
– การทอผ้าสีเข้ม ทอละเอียด
– การร้อยตะกร้อ

๘๐๐ – ๑,๒๐๐

 

การใช้สายตา

ลักษณะงาน

ตัวอย่างลักษณะงาน

ค่าความเข้มของแสง สว่าง (ลักซ์)

งานละเอียดสูงมาก

งานที่ชิ้นงานมีขนาดเล็กมาก ไม่สามารถมองเห็นได้ อย่างชัดเจน และมีความแตกต่างของสีน้อยมากหรือมี สีไม่แตกต่างกัน ต้องใช้สายตาเพ่งในการทางานมาก และ ใช้เวล าในการท างานระ ยะ เวล านาน

– งานละเอียดที่ทาที่โต๊ะหรือเครื่องจักร ชิ้นงานที่มีขนาดเล็กกว่า ๒๕ ไมโครเมตร (๐.๐๒๕ มิลลิเมตร)
– งานตรวจสอบชิ้นส่วนที่มีขนาดเล็ก
– งานซ่อมแซม ส่ิงทอ สิ่งถักที่มีสีอ่อน

– งานตรวจสอบและตกแต่งชิ้นส่วนของสิ่งทอ สิ่งถักท่ีมีสีเข้มด้วยมือ – การตรวจสอบและตกแต่งผลิตภัณฑ์สีเข้มและสีอ่อนด้วยมือ

๑,๒๐๐ – ๑,๖๐๐

งานละเอียดสูงมากเป็น พิเศษ

งานที่ชิ้นงานมีขนาดเล็กมากเป็นพิเศษ ไม่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน และมีความ แตกต่างของสีน้อยมากหรือมีสีไม่แตกต่างกัน ต้องใช้ สายตาเพ่งในการทางานมากหรือใช้ทักษะและความ ชานาญสูง และใช้เวลาในการทางานระยะเวลานาน

– การปฏิบัติงานตรวจสอบชิ้นงานที่มีขนาดเล็กมากเป็นพิเศษ
– การเจียระไนเพชร พลอย การทานาฬิกาข้อมือสาหรับกระบวนการผลิตที่มีขนาด เล็กมากเป็นพิเศษ
– งานทางการแพทย์ เช่น งานทันตกรรม ห้องผ่าตัด

๒,๔๐๐ หรือมากกว่า

ตารางที่ ๓ มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง (ลักซ์) บริเวณโดยรอบที่ให้ลูกจ้างคนใดคนหนึ่งทางาน โดยสายตามองเฉพาะจุดในการปฏิบัติงาน

 

พื้นที่ ๑

พื้นที่ ๒

พื้นที่ ๓

๑,๐๐๐ – ๒,๐๐๐ มากกว่า ๒,๐๐๐ – ๕,๐๐๐ มากกว่า ๕,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ มากกว่า ๑๐,๐๐๐

๓๐๐ / ๖๐๐ / ๑,๐๐๐ / ๒,๐๐๐

๒๐๐ / ๓๐๐ / ๔๐๐ / ๖๐๐

หมายเหตุ :

พื้นที่ ๑ หมายถึง จุดที่ให้ลูกจ้างทางานโดยใช้สายตามองเฉพาะจุดในการปฏิบัติงาน
พื้นที่ ๒ หมายถึง บริเวณถัดจากที่ที่ให้ลูกจ้างคนใดคนหนึ่งทางานในรัศมีที่ลูกจ้างเอื้อมมือถึง
พื้นที่ ๓ หมายถึง บริเวณโดยรอบที่ติดพื้นที่ ๒ ที่มีการปฏิบัติงานของลูกจ้างคนใดคนหนึ่ง

การตรวจวัดความเข้มแสงสว่าง

ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีดาเนินการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทางานเกี่ยวกับระดับความร้อน แสงสว่าง หรือเสียงภายในสถานประกอบกิจการระยะเวลา และประเภทกิจการที่ต้องดำเนินการ ได้กาหนดให้นายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง หรือเสียงภายในสถานประกอบกิจการใน สภาวะที่เป็นจริงของสภาพการทางาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

กรณีที่มีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร อุปกรณ์ กระบวนการผลิต วิธีการทำงาน หรือการดำเนินการใดๆ ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยน แปลงระดับความร้อน แสงสว่าง หรือการดำเนินการใดๆ ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความร้อน แสงสว่าง หรือเสียง ให้นายจ้าง ดำเนินการจัดให้มีการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงานฯ เพิ่มเติมภายใน 90 วัน นับจากวันที่มีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง



ให้ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างในสถานประกอบกิจการทุกประเภทกิจการ โดยให้ตรวจวัด "บริเวณพื้นที่ทั่วไป" บริเวณพื้นที่ใช้ประโยชน์ ในกระบวน การผลิตที่ลูกจ้างทำงาน และบริเวณที่ลูกจ้างต้องทำงานโดยใช้สายตามองเฉพาะจุดหรือต้องใช้สายตาอยู่กับที่ในการทำงาน ในสภาพการทำงานปกติและในช่วงเวลาที่มีแสงสว่างตามธรรมชาติน้อยที่สุด การตรวจวัดความเข้มแสงสว่างภายในอาคาร วิธีการตรวจวัด โดยทั่วไปมี 2 วิธี คือ วัดที่จุดทำงาน และวัดแบบค่าเฉลี่ยของพื้นที่ทั่วไป



1. การวัดแบบจุด (Spot Measurement )

เป็นการตรวจวัดความเข้มแสงสว่างบริเวณที่ลูกจ้างต้องทำงานโดยใช้สายตาเฉพาะจุดหรือต้องใช้สายตาอยุ่กับที่ในการทำงาน ตรวจวัดในจุด ที่สายตากระทบชิ้นงานหรือจุดที่ทำงานของคนงาน (Point of Work) โดยวางเครื่องวัดแสงในแนวระนาบเดียวกับชิ้นงาน หรือพื้นผิวที่สายตา ตกกระทบ แล้วอ่านค่าค่าที่อ่านได้นำไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานตามกฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน เกี่ยวกับ ความร้อน แสงสว่าง และเสียงพ.ศ. 2549 หมวด 2 แสงสว่าง ข้อ 5 (3), (4), (5)

2. การวัดแสงเฉลี่ยแบบพื้นที่ทั่วไป (Area Measurement)

เป็นการตรวจวัดความเข้มแสงสว่างในบริเวณพื้นที่ทั่วไปภายในสถานประกอบกิจการ เช่นทางเดิน และบริเวณพื้นที่ใช้ประโยชน์ในกระบวน การผลิตที่ลูกจ้างทางานการตรวจวัดแบบนี้สามารถทำได้สองวิธี คือ

1. แบ่งพื้นที่ทั้งหมดออกเป็น 2 x 2 ตารางเมตร โดยถือเซลรับแสงในแนวระนาบสูงจากพื้น 30 นิ้ว (75 เซนติเมตร) แล้วอ่านค่า (ในขณะที่วัดนั้นต้องมิให้เงาของผู้วัดบังแสงสว่าง) นำค่าที่วัดได้มาหาค่าเฉลี่ย

2. หากการติดหลอดไฟฟ้ามีลักษณะที่แน่นอนซ้ำๆ กัน สามารถวัดแสงในจุดที่เป็นตัวแทนของพื้นที่ที่มีแสงตกกระทบในลักษณะเดียวกัน ตามวิธีการวัดแสงและการคำนวณค่าเฉลี่ย ของ IES Lighting Handbook 1981 (Reference Volume) ] หรือเทียบเท่า

ความส่องสว่างและความสว่าง


1.1.1 ความส่องสว่าง (อิลูมิแนนซ์) หมายถึงปริมาณแสงที่กระทบลงบนวัตถุต่อพื้นที่ มีหน่วยเป็น ลูเมนต่อตารางเมตร หรือ ลักซ์ (ถ้าหน่วยเป็น ลูเมนต่อตารางฟุต ความส่องสว่างก็เป็น ฟุตแคนเดิล)

 



1.1.2 ความสว่าง (ลูมิแนนซ์) หมายถึงปริมาณแสงที่สะท้อนออกมาจากวัตถุต่อพื้นที่ มีหน่วยเป็น แคนเดลาต่อตารางเมตร ปริมาณแสงที่เท่ากันเมื่อตกกระทบลงมาบนวัตถุที่มีสีต่างกันจะมีปริมาณแสงสะท้อนกลับต่างกัน นั่นคือ ลูมิแนนซ์ ต่างกัน สาเหตุที่ต่างกันก็เนื่องมาจากสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงของวัสดุต่างกัน

ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบค่าความสว่างในอาคารตามมาตรฐาน CIE ,IES หน่วยเป็น ลักซ์

 
พื้นที่ต่างๆ CIE IES
ห้องประชุม 300-500-750 200-300-500
ห้องเขียนแบบ 500-750-1000 500-750-1000
ห้องทำงานทั่วไป 300-500-750 200-300-500
ห้องคอมพิวเตอร์ 300-500-750 200-300-500
ห้องสมุด 300-500-750 200-300-500
ร้านค้าในอาคารพานิช 500-750 500-750-1000
เคาน์เตอร์ 200-300-500 200-300-500
ห้องเก็บของ 100-150-200 100-150-200
ห้องลอบบี้หรือบริเวณต้อนรับ 100-150-200 100-150-200
ห้องน้า 100-150-200 100-150-200
ทางเดิน 50-100-150 100-150-200
บันได 100-150-200 100-150-200
ลิฟท์ 100-150-200 100-150-200

 

ตารางที่ 2 แสดงการเปรียบค่าความสว่างในโรงงานตามมาตรฐาน CIE ,IES

 
พื้นที่ต่างๆ CIE IES
งานทั่วไป/Ex. warehouse / งานประกอบทั่วไป 150-200-300 200-300-500
งานหยาบ / Ex..งานประกอบชิ้นส่วน ทั่วๆไป 200-300-500 500-750-1000
งานละเอียดปานกลาง / Ex.งานประกอบชิ้นส่วนขนาดเล็ก 300-500-750 1000-1500-2000
งานละเอียด / Ex.งานประกอบ ชิ้นส่วนขนาดเล็กมาก 500-750-1000 2000-3000-5000
งานละเอียดมาก/Ex.งานประกอบชิ้นส่วนขนาดพิเศษ 1000-1500-2000 5000-7500-10000

 

สนใจปรึกษาและใช้บริการคำนวนแสงฟรี โปรดติดต่อ
บริษัท ธนโรจน์ ไลท์ติ้ง แอนด์ อีควิปเมนท์ จำกัด
THANAROJ LIGHTING & EQUIPMENT COMPANY LIMITED
785 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120
TEl : 02-295 0894-5, 089-174 1417, 084-264 2969
Id Line : audy_petashop

Rate this item
(2 votes)
Last modified on Friday, 05 June 2020 10:45
ปองภพ เจนกิจโสภณ

Author : เกาะติดข่าวเทคโนโลยีและอิเลคทรอนิกส์, ทุกเรื่องราว IT, Software และ Gadget, IoT, AI, EV, วิทยาศาสตร์, โทรคมนาคม, Artificial Intelligence, Machine Learning ฯลฯ

Tweet Feed

Post Gallery

Zoomlion จัดงานมินิโรดโชว์ลำปาง 18-22 ธันวาคม 2567 พร้อมโปรโมชันดีส่งท้ายปี

Taiwan Excellence นำเสนอมิติใหม่แห่งวงการอุตสาหกรรมโลหการ  ชูวิสัยทัศน์เด่น "Innovate for Green Metalwork"  ที่ Metalex 2024

ไต้หวัน เดินหน้านโยบายมุ่งใต้ใหม่ ยกระดับความร่วมมือไทย-ไต้หวัน พร้อมโชว์นวัตกรรมอัจฉริยะ ในงาน TAIWAN EXPO 2024

“เมทัลเล็กซ์ 2024” พร้อมโชว์ผลงานชิ้นเอกจาก 3,000 แบรนด์ จัดเต็มพื้นที่ศูนย์ไบเทคเตรียมรับนักอุตสาหกรรมจาก 50 ประเทศ

Taiwan Excellence ยกขบวนนวัตกรรมเครื่องจักรสุดล้ำ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมสู่ Net-Zero

Taiwan Expo 2024 พร้อมมอบโอกาสทางธุรกิจให้คนไทยอีกครั้ง 21-23 พ.ย. นี้ อัพเดทเทรนด์ ชมนวัตกรรม เทคโนโลยี โซลูชัน ที่ตอบโจทย์ทุกอุตสาหกรรม

AP THAILAND – CPAC  ผนึกกำลังขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเพื่อการอยู่อาศัยไทยสู่ความยั่งยืน  ก้าวสู่ยุคใหม่ด้วยคอนกรีตคาร์บอนต่ำ และรถโม่เล็กซีแพค

“บางกอกเคเบิ้ล” ฉลองเส้นทางผู้นำธุรกิจสายไฟ 60 ปี มุ่งพลิกโฉมความปลอดภัย-อนาคตเมือง พัฒนา Smart Factory-รุกตลาดพลังงานสะอาด รับความต้องการผลิตไฟฟ้าทั่วโลกโต 3 เท่า

นวพลาสติก คว้ารางวัล Thailand Kaizen Award 2024 ตอกย้ำองค์กรที่มุ่งมั่นด้านการลดการใช้พลังงาน และตระหนักเรื่องสิ่งแวดล้อม

X

ลิขสิทธิ์ของ IM

ห้ามผู้ใดทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ปลอมแปลง จัดเผยแพร่ เรียกดึงข้อมูล บันทึก ส่งผ่าน หรือกระทำการใดๆ ที่ละเมิดสิทธิและทรัพย์สินทางปัญญาของ IM